จาก “กาติ้บ” สู่ “อารีย์” (2)
เพราะช่วงนี้ออกไปไหนไม่ได้ เราจึงโทรไปหา ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทราศุ หลังจากอ่าน “วานนี้ที่สุขุมวิท” จบเล่มไปหมาดๆ
เพราะช่วงนี้ออกไปไหนไม่ได้ เราจึงโทรไปหา ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทราศุ หลังจากอ่าน “วานนี้ที่สุขุมวิท” จบเล่มไปหมาดๆ
ย้อนไป 60 ปีก่อน ตอนที่ชาวอารียังมีเพียงแค่หลักร้อย และฝั่งตรงข้ามซอยอารี (ฝั่ง la villa) ยังเป็นทุ่งนาและแปลงผักสมาคมปราบวัณโรคแห่งประเทศไทย คือแลนด์มาร์คสำคัญของย่านนี้
เดินทะลุซอยอารี 4 ฝั่งเหนือไปเรื่อยๆ ผ่าน GUMP’s Ari ครัวตุ่มอิงน้ำ ทะลุซอยชำนาญอักษร เราจะมาถึงซอยพหลโยธิน 9 หรือที่เรียกกันตั้งแต่เก่าก่อนว่า “ซอยสีฟ้า”
ข้อดีของการทำคอนเท็นต์เกี่ยวกับย่านอารีย์ – ประดิพัทธ์คือ มันพา AriAround ไปรู้จักคนเก่าคนแก่ในระแวกนี้ ครั้งนี้เราได้พบกับ พลโท ดร. สมัยรบ สุทธิวาทนฤพุฒิ แห่งซอยศุภราช ผู้ย้ายเข้ามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 ปัจจุบันอายุ 78 ปี แต่ยังมีความจำดีอย่างไม่น่าเชื่อ
หลายต่อหลายครั้ง ที่มนุษย์ปล่อยให้เรื่องราวดีๆ เลือนหายไปก่อนที่จะมีการค้นคว้า จัดเก็บ และเรียบเรียงออกมาเป็นประวัติศาสตร์
ซอยอารีก็เช่นกัน…
ร้อยทั้งร้อย เรามั่นใจว่าตอนนี้ถ้าหากพูดถึง “อารี” ใครๆ ก็คงนึกถึงว่าเป็นย่านคาเฟ่ แหล่งรวมความชิคความคูล ใช่แล้วครับ มันเป็นเรื่องดีมากๆ ที่ย่านที่เราอยู่อาศัยกำลังเติบโตและปรับตัวเข้าหาสิ่งใหม่ตลอดเวลา แต่ถ้าลองหยุดคิดและมองการ เติบโตนี้ชัดๆ ให้ถนัดตา
“เรานึกถึงอดีตของย่านที่เราอยู่อาศัยหรือใช้ชีวิตน้อยไปหรือเปล่า?”
นี่คือคำถามและจุดเริ่มต้นของ AriTimes ทุกๆ สัปดาห์ต่อจากนี้เราจะทยอยเอาภาพอดีตของซอยอารีกลับมายังปัจจุบันอีกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นภาพถ่าย และเรื่องเล่าของคนในย่าน แน่นอนว่าทุกท่านสามารถส่งเรื่องราว และความทรงจำที่มีต่อซอยอารีมาให้กับเรา และร่วมเป็นนักเล่าเรื่องรับเชิญบนแพลตฟอร์มของเรา